Showing 1–30 of 34 results

หูฟังออกกำลังกาย

หูฟังออกกำลังกาย จากแบรนด์ดังมากมาย เสียงดี เบสหนัก คุณภาพดี ฟังก์ชันจัดเต็ม มีความทนทานเหมาะสำหรับใส่ออกกำลังกาย รับประกันของแท้ 100 %

-10%
สีขาว
สีดำ
สีชมพู
สีฟ้า
฿6,291 (รวม VAT 7% แล้ว)
+
สินค้าหมดแล้ว
-5%
สีขาว
สีดำ
สีน้ำเงิน
฿6,641 (รวม VAT 7% แล้ว)
สีขาว
สีดำ
สีเขียว
฿9,990 (รวม VAT 7% แล้ว)
สีขาว
สีดำ
สีฟ้าเที่ยงคืน
฿8,900 (รวม VAT 7% แล้ว)
-33%
+
สินค้าหมดแล้ว
สีขาว
สีดำ
฿3,990 (รวม VAT 7% แล้ว)
สีเงิน
สีดำ
฿8,990 (รวม VAT 7% แล้ว)
+
สินค้าหมดแล้ว
สีดำ
สีส้ม
฿4,990 (รวม VAT 7% แล้ว)
สีดำ
สีแดง
สีน้ำเงิน
฿4,990 (รวม VAT 7% แล้ว)
สีขาว
สีดำ
฿5,990 (รวม VAT 7% แล้ว)
+
สินค้าหมดแล้ว
สีขาว
สีดำ
฿5,990 (รวม VAT 7% แล้ว)
สีขาว
สีดำ
฿5,990 (รวม VAT 7% แล้ว)
+
สินค้าหมดแล้ว
สีดำ
สีเขียวมะนาว
สีฟ้า
สีน้ำเงิน
฿3,990 (รวม VAT 7% แล้ว)
+
สินค้าหมดแล้ว
สีดำ
สีแดง
สีเหลือง
สีทีล
สีน้ำเงิน
฿3,990 (รวม VAT 7% แล้ว)
สีดำ
สีแดง
สีเหลือง
สีทีล
สีน้ำเงิน
฿2,990 (รวม VAT 7% แล้ว)
+
สินค้าหมดแล้ว
สีดำ
สีแดง
สีเหลือง
สีทีล
สีน้ำเงิน
฿1,990 (รวม VAT 7% แล้ว)
สีดำ
สีแดง
สีเหลือง
฿1,590 (รวม VAT 7% แล้ว)
-10%
+
สินค้าหมดแล้ว
สีขาว
สีดำ
สีส้ม
สีน้ำเงิน
฿1,791 (รวม VAT 7% แล้ว)
สีดำ
สีแดง
สีเหลือง
สีทีล
สีน้ำเงิน
฿990 (รวม VAT 7% แล้ว)

หูฟังสำหรับออกกำลังกาย

หูฟังสำหรับออกกำลังกาย


ดนตรี เพลง นั้นเป็นสิ่งอยู่คู่กับมนุษย์มาอย่างยาวนาน ปฎิเสธไม่ได้ว่าเพลงและดนตรีนั้นเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ขาดไม่ได้สำหรับใครหลายคนไม่ว่าจะเป็น ระหว่างทำงาน งานอดิเรก ทานข้าว จิบกาแฟ ทำอาหาร ดนตรีสามารถแทรกซึมเข้าไปได้แทบจะทุกกิจกรรม รวมถึงการออกกำลัง ซึ่งบางคนอาจจะขาดเสียงเพลงในระหว่างออกกำลังกายไปไม่ได้ (ผมเองก็เช่นกัน) ฉะนั้นแล้วการจริงจังถึงคุณภาพเสียงระหว่างออกกำลังกายจึงเป็นเรื่องสำคัญเช่นกัน 

แน่นอนว่าผู้คนที่ออกกำลังกายก็จะฟังเพลงจาก หูฟัง และ ลำโพงเป็นส่วนใหญ่ โดยถ้าเราจากหูฟังก็จะมีฟังก์ชั่นต่าง ๆ มากมาย รวมถึงเทคโนโลยีต่าง ๆ ที่แต่ละแบรนด์พากันงัดออกมาแบบไม่มีใครยอมใคร ปัจจุบันนั้นก็มีหูฟังออกมาจำหน่ายเป็นจำนวนมากมาย หลาย แบรนด์ หลายรุ่น หลายราคา ให้เราเลือกซื้อ 

หูฟังสำหรับออกกำลังกาย กับ หูฟังทั่วไป แตกต่างกันอย่างไร ?


หูฟังที่ถูกออกแบบมาสำหรับการออกกำลังกายโดยเฉพาะนั้นจากแตกต่างจากหูฟังทั่วไปในหลาย ๆ ด้านเพื่อรองรับความต้องการเฉพาะของการออกกำลังกาย ซึ่งมีดีงต่อไปนี้ 

  1. ความทนทานและทนเหงื่อ : หูฟังสำหรับออกกำลังกายโดยทั่วไปแล้วจะถูกออกแบบมาให้มีความทนทานต่อต่อการเคลื่อนไหวเช่น วิ่ง หรือ กระโดด รวมถึงการทนทานต่อเหงือด้วย โดยแบรนด์ผู้ผลิตจะใช้วัสดุที่ทนทานต่อความชื้นและได้รับการออกแบบมาให้ทนทานต่อแรงกระแทกและการตกหล่น (เป็นครั้งคราว)
  2. สวมใส่พอดีและมั่นคง : หูฟังสำหรับออกกำลังกายได้รับการออกแบบมาเพื่อให้อยู่กับที่ระหว่างทำกิจกรรมที่ต้องใช้แรงกาย มักจะมาพร้อมกับคุณสมบัติต่างๆ เช่น ที่เกี่ยวหู ครีบครอบหู หรือจุกหูฟังแบบปรับได้เพื่อให้สวมใส่ได้พอดีและสบาย ช่วยลดโอกาสที่หูฟังจะหลุดระหว่างออกกำลังกาย
  3. การเชื่อมต่อไร้สาย : หูฟังออกกำลังกายส่วนใหญ่เป็นแบบไร้สายและใช้เทคโนโลยีบลูทูธ เพื่อการเชื่อมต่อที่ราบรื่น ซึ่งช่วยลดความไม่สะดวกและอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากสายพันกันระหว่างออกกำลังกาย
  4. การแยกเสียงรบกวน : การออกกำลังกายที่ฟิตเนส หรือ สวนสาธารณะ นั้นอาจจะเจอเสียงที่รบกวนสมาธิ หรืออาจจะต้องการแรงกระตุ้นในระหว่างออกกำลังกาย หูฟังสำหรับออกกำลังกายมักจะมาพร้อม คุณสมบัติในการแยกเสียงรบกวนหรือตัดเสียงรบกวน
  5. คุณสมบัติการควบคุมและความสะดวกสบาย : หูฟังสำหรับออกกำลังกายมักมาพร้อมกับส่วนควบคุมในสายหรือพื้นผิวที่ไวต่อการสัมผัส เพื่อให้ควบคุมการเล่นเพลง ปรับระดับเสียง และจัดการการโทรได้ง่าย บางรุ่นยังมีการรวมระบบสั่งงานด้วยเสียง ให้คุณควบคุมอุปกรณ์แบบแฮนด์ฟรีได้
  6. ด้านความปลอดภัย : หูฟังสำหรับออกกำลังกายบางรุ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งหูฟังที่ออกแบบมาสำหรับกิจกรรมกลางแจ้ง อาจมีคุณสมบัติด้านความปลอดภัย เช่น โหมดเสียงรอบข้าง โหมดเหล่านี้ช่วยให้คุณได้ยินเสียงภายนอก เช่น การจราจรหรือนักปั่นจักรยานที่เข้าใกล้ เพื่อรักษาการรับรู้สถานการณ์และรับรองความปลอดภัย

แม้หูฟังออกกำลังกายจะออกแบบมาสำหรับกิจกรรมที่ต้องใช้แรงกาย แต่ก็ยังสามารถใช้ฟังในชีวิตประจำวันได้ อย่างไรก็ตาม อาจมีการออกแบบและฟังก์ชันเฉพาะที่ปรับให้เหมาะกับการออกกำลังกาย ทำให้เป็นตัวเลือกยอดนิยมในหมู่ผู้ชื่นชอบการออกกำลังกาย

เลือกหูฟังสำหรับออกกำลังกายที่เหมาะกับคุณ

เลือกหูฟังสำหรับออกกำลังกายที่เหมาะกับคุณ อย่างไรดี?


นี่เป็นหนึ่งสิ่งสำหรับและมีความยากอยู่พอสมควรเมื่อเราไม่มีหูฟังออกกำลังกายอยู่ในใจเลย หรือเป็นผู้เริ่มใช้หูฟังสำหรับออกกำลังกายครั้งแรก โดยเมื่อเลือกหูฟังสำหรับออกกำลังกายเราก็มีปัจจัยแนะนำให้ ดังนี้ 

  1. ความพอดีใส่สบาย : นี้เป็นข้อสำคัญลำดับต้นเลยก็ว่าได้ เพราะต่อให้หูฟังจะเสียงดี มีฟังก์ชันที่แพรวพราวขนาดไหน ถ้าเราใส่แล้วรู้เจ็บและไม่สบายหู สิ่งนี่ก็จะทำให้เราใส่หูฟังออกกำลักายได้ไม่นานและสุดท้ายอาจจะต้องหาหูฟังใหม่ที่ใส่สบายกว่านี้ โดยประของดูฟังเราข้อแบ่งหลัก ๆ เป็น 2 ประเภทคือ
    • หูฟังอินเอียร์ หรือ เอียร์บัด : หูฟังเหล่านี้มีน้ำหนักเบา พกพาสะดวก และทำความสะอาดได้ง่ายกว่าหูฟังอื่น ๆ โดยหูฟังแบบอินเอียร์ มีปลายโฟมหรือซิลิโคนที่ใส่เข้าไปในช่องหู เพือตัดเสียงรบกวนรอบข้าง ส่วนหูฟังแบบเอียร์บัดนั้นจะไม่มีปลายโฟมหรือซิลิโคนที่ใส่เข้าไปและมีโอกาสหลุดร่วงมากกว่าหูฟังอินเอียร์
    • หูฟังแบบครอบหู (Over-ear) : เนื่องจากมีที่ครอบหูขนาดใหญ่ จึงมีแนวโน้มที่จะให้เสียงที่มีคุณภาพสูงขึ้น แต่หูฟังแบบครอบหูอาจใช้งานหนักได้ โดยเฉพาะเมื่อออกกำลังกายเป็นเวลานาน
  2. IPX Rating หรือ ระดับการกันน้ำ : คนทั่วไปผลิตเหงื่อได้มากถึง 1.4 ลิตรต่อการออกกำลังกายทุกชั่วโมง นั่นก็มากเกินพอที่จะทำให้หูฟังของคุณเสียหายได้หากไม่ได้รับการป้องกันอย่างทั่วถึง ซึ่งแนะนำให้ใช้หูฟังที่มีระดับ IPX4 เป็นอย่างน้อย
  3. การแยกเสียง : หูฟังสำหรับออกกำลังกายมักจะมาพร้อม คุณสมบัติในการแยกเสียงรบกวนหรือตัดเสียงรบกวน เพื่อช่วยให้คุณมีสมาธิและมีแรงกระตุ้นในระหว่างออกกำลังกายและช่วยให้คุณดื่มด่ำไปกับเพลงหรือพอดคาสต์
  4. คุณภาพเสียง : แม้ว่าเสียงจะเป็นเรื่องของความชอบส่วนบุคคล แต่สิ่งสำคัญคือต้องหาหูฟังที่ให้เสียงที่ชัดเจนและสมดุล
  5. ไมโครโฟน : แม้ว่าหูฟังบางรุ่นจะทำมาเพื่อเล่นเพลงเท่านั้น แต่ในบางครั้งหูฟังที่มีไมโครโฟนในตัวจะช่วยให้คุณโทรออกได้โดยไม่ต้องหยุดออกกำลังกาย

ท้ายที่สุดแล้ว การเลือกหูฟังสำหรับออกกำลังกายจะขึ้นอยู่กับความชอบส่วนบุคคล งบประมาณ และความต้องการเฉพาะของคุณ ขอแนะนำให้ดูรีวิวของหูฟังรุ่นนั้น ๆ และเป็นไปได้ควรทดลองฟัง รวมถึงการพิจารณาปัจจัยต่างๆ ที่กล่าวมาข้างต้นเพื่อค้นหาหูฟังที่เหมาะกับคุณที่สุด

หูฟังทั่วไปสามารถใส่ออกกำลังกายได้ไหม ?


จริง ๆ แล้วหูฟังทั่วไปนั้นก็สามารถใส่ออกกำลังกายได้ จากที่กล่าวไปจะเห็นได้ว่าหูฟังทั่วไปและหูฟังสำหรับออกกำลังจะแต่ต่างกันแพงเล็กน้อย ซึ่งข้อควรระวังก็คือหูฟังทั่วไปที่ไม่มีมาตราฐานการกันน้ำนั้นจะเกิดความเสียหายได้เมื่อเราใส่ออกกำลังกาย หรือหลุดร่วงแล้วเกิดความเสียหาย แต่หากเราไม่ได้ออกกำลังกายหนักหรือไม่มีการเคลื่อนไหวที่รุนแรงก็สามารถใส่หูฟังทั่วออกกำลังกายได้แล้วครับ

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่าคุกกี้

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    เปิดใช้งานตลอด

    ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
    รายละเอียดคุกกี้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ ถ้าหากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้
    รายละเอียดคุกกี้

บันทึก